วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559



บันทึกการเรียน 

ครั้งที่ 5

วันศุกร์  ที่  12 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2559

 เนื้อหาที่เรียน
  • การให้เด็กลงมือเเบบอิสระ ลองผิดลองถูก เลือกที่จะตัดสินใจเอง
  • การจัดประสบการณ์ควรที่จะให้เด็กได้ใช้ประสัมผัสทั้ง5 อย่างเช่นการจัดกิจกรรมในวันนี้ คือให้เด็กต่อรูปทรงเรขาคณิตก่อนให้เขาได้สัมผัส เเล้วควรมาวาดรูปในกระดาษตามเเบบ การสอนเเบบนี้จะสอนให้เด็กได้ฝึการสังเกต
ทักษะ/การระดมความคิดประเมิน
  • หาวิธีการที่จำทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ให้มากที่สุด
บรรยากาศในห้องเรียน
  • เพื่อนตั้งใจเรียนฟังอาจารย์บรรยาย ชอบบทความของเพื่อนมากที่นำเรื่องราวดีๆมาเล่าให้ฟัง
การจัดการเรียนการสอน
  • อาจารย์สอนดี มีทักษะให้นักษาคิดคตาม พูดคุน สนทนากันเเละกัน
วิเคราะห์ตนเอง
  • ตั้งใจฟังอาจารย์ พยายามคิดตามให้ทันในสิ่งที่อาจารย์พูด

วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียน 

ครั้งที่ 4

วันศุกร์  ที่  5 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2559


  เนื้อหาที่เรียน  
  •  อาจารย์นำสื่อการสอนปฎิทินสำหรับเด็กปฐมวัยมาให้ดู เเล้วช่วยกันดูว่าควรเเก้ไขตรงไหนให้เหมาะกับเด็กปฐมวัย
  • เรียนเรื่องประเภทสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
    1. การจับคู่
    2. ภาพตัดต่อ
    3. สังเกตรายละเอียดภาพ
    4. โดมิโน้
    5. ความสัมพันธ์ 2 แกน
    6. เรียงลำดับ
    7. จัดหมวดหมู่ / กลุ่ม
    8. เกมส์พื้นฐานการบวก
  • อาจารย์ให้นำเสนอของเล่นเเต่ละกลุ่ม เเล้วเเนะนำวิธีการปรับเปลี่ยนของเลานให้เหมาะกับเด็กปฐมวัย
  • ร้องเพลง





ทักษะ/การระดมความคิดประเมิน
  • ช่วยกันคิดหาวิธีทำให้ปฎิทิน เกมการศึกษา 
บรรยากาศในห้องเรียน
  • ห้องเรียนหนาวมาก ห้องเป็นระเบียบเรียบร้อง สะอาด เพื่อนตั้งใจฟังช่วยตอบคำถามกัน
การจัดการเรียนการสอน
  • าจารย์นำตัวอย่างสื่อมาให้ดู สามารถเข้าใจได้ง่าย 
วิเคราะห์ตนเอง
  • ยังฟังคำถามของอาจารย์ยังไม่เข้าใจ เเต่ก็พยายามคิดตาม

วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียน

*ชดเชย (วันศุกร์ ที่ 22 มกราคม 2559)

วันพุธ ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2559


 เนื้อหาที่เรียน 


      สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่  1  จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่  2  การวัด
สาระที่  3  เรขาคณิต
สาระที่  4  พีชคณิต
สาระที่  5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่  6  ทักษะและกระบวนการทางคณิต   

1.  มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์
  • จำนวนนับ 1 ถึง  20
  • เข้าใจหลักการนับ
  • รู้จักตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
  • รู้ค่าของจำนวน
  • เปรีบยเทียบ  เรียงลำดับ
  • การรวมและการแยกกลุ่ม
2.  มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว  น้ำหนัก  ปริมาตร  เงิน  และเวลา
  • เปรียบเทียบ  เรียงลำดับ  และวัดความยาว  น้ำหนัก  ปริมาตร
  • รู้จักเงินเหรียญและธนบัตร
  • เข้าใจเกี่ยวกับเวลาและคำที่ใช้บอกช่วงเวลา
3.  มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต
  • ตำแหน่ง  ทิศทาง  ระยะทาง
  • รูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรขาคณิตสองมิติ
4.  มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง  ขนาด  สีที่สัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
5.  มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิอย่างง่าย
6.  มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น
      สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่  1  จำนวนและการดำเนินการ
  • มาตรฐาน  ค.ป.  1.1  เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง
      จำนวน
  • การใช้จำนวนบอกปริมาณที่ได้จากการนับ
  • การอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก  คละตัวเลขไทย
  • การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกแสดงจำนวน
  • การเปรียบเทียบจำนวน
  • การเรียงลำดับจำนวน
      การรวม  และการแยกกลุ่ม
  • ความหมายของการรวม
  • การรวมสิ่งต่างๆ  สองกลุ่มที่มีผลรวม  ไม่เกิน  10
  • ความหมายของการแยก
  • การแยกกลุ่มย่อยออกจากกลุ่มใหญ่ที่มีจำนวนไม่เกิน  10
สาระที่  2  การวัด
  • มาตรฐาน  ค.ป.  2.1  เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว  น้ำหนัก  ปริมาตร  เงิน  และเวลา
      ความยาว  น้ำหนัก  และปริมาตร
  • การเปรียบเทียบ  /  การวัด  /  การเรียงลำดับความยาว
  • การเปรียบเทียบ  /  การชั่ง  /  การเรียงลำดับน้้ำหนัก
  • การเปรียบเทียบปริมาตร  /  การตวง
         เงิน
    • ชนิดและค่าของเงิน  เหรียญ  และธนบัตร
         เวลา
    • ช่วงเวลาในแต่ละวัน
    • ชื่อวันในสัปดาห์และคำที่ใช้บอกเกี่ยวกับวัน
    สาระที่  3  เรขาคณิต
    • มาตรฐาน  ค.ป.  3.1  รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง  ทิศทาง  และระยะทาง
    • มาตรฐาน  ค.ป.  3.2  รู้จักจำแนกรูปเรขาคณิต  และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
         ตำแหน่ง  ทิศทาง  และระยะทาง
    • การบอกตำแหน่ง  ทิศทาง  และระยะทางของสิ่งต่างๆ
         รูปเรขาคณิตสามมิติ  และรูปเรขาคณิสองมิติ
    • ทรงกลม  ทรงสี่เหลี่ยมมุมแาก  กรวย  ทรงกระบอก
    • รูปวงกลม  รูปสามเหลี่ยม  รูปสี่เหลี่ยม
    • การเปลี่ยนแปลง  รูปเรขาคณิตสองมิติ
    • การสร้างสรรค์  ศิลปะจากรูปเรขาคณิตสามมิติ  และสองมิติ
    สาระที่  4  พีชคณิต
    • มาตรฐาน  ค.ป.  4.1  เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
          แบบรูปและความสัมพันธ์
    • แบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง  ขนาด  หรือ สี ที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
    สาระที่  5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
    • มาตรฐาน  ค.ป.  5.1  รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม  และนำเสนอ
          การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ
    • การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิอย่างง่าย
    สาระที่  6  ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
    • การแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์  และการนำเสนอการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ  ทางคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ   และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

    ทักษะ/การระดมความคิดประเมิน
    • การจัดกิจกรรมต่างๆต้องคำนึงถึงพัฒนาการเป็นลำดับขั้นต้อง
    • วิธีการเรียนรู้ต้องสอดคล้องกับการเรียน
    • การจัดประสบการณ์ต้องให้เด็กได้ลงมือทำโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
    บรรยากาศในห้องเรียน
    • อากาศเย็นสบาย เพื่อนๆมาเรียนกันครบทำไมดูสนุกสนานและช่วยกันตอบคำถามของอาจารย์
    การจัดการเรียนการสอน
    • อาจารย์มักจะตั้งคำถามเพื่อที่ให้นักศึกษาตามทำให้เห็นภาพ ตามมีการระดมสองช่วยกันคิดตาม
    วิเคราะห์ตนเอง
    • พยายามคิดตามอาจารย์บางทีก็คิดตามได้ บางทีก็คิดไม่ออก เเต่จะพยายามให้มากว่านี้ค่ะ