วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559

                        สรุปวิจัยคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


ชื่องานวิจัย ทักษะพื้นนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ
ปริญญานิพนธ ของ พิจิตรา เกษประดิษฐ

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดวอง เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของ เด็กปฐมวัยกอนและหลังการทำกิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน  และเปน แนวทางสําหรับครู ผูปกครองและผูที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในการพิจาณาเลือกกิจกรรม ที่จะชวยสงเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรแกเด็กปฐมวัยไดอยางเหมาะสม ซึ่งมีลําดับขั้นตอน ของการวิจัยและผลของการวิจัยโดยสรุป ดังนี้

ความมุงหมายของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย กอนและหลังการจัดกิจกรรม ศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ

ความสําคัญของการวิจัย ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ สําหรับครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย ในการนํากิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ ไปใชเพื่อสงเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร ของเด็กปฐมวัยอีกวิธีหนึ่ง

ขอบเขตของการวิจัย 
ประชากร 
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนเด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มีอายุ 3 – 4 ปซึ่งกําลังศึกษา อยูในชั้นอนุบาลปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 ของโรงเรียนอนุบาลกุกไก สังกัด สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร จํานวน 81 คน

กลุมตัวอยาง
 กลุมตัวอย่างที่ใช ในการวิจัยครั้งนี้เปนเด็กปฐมวัยชาย-หญิง ที่มีอายุ 3 – 4 ปซึ่งกำลัง ศึกษาอยูในชั้นอนุบาลปที่ 1/3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 ของโรงเรียนอนุบาลกุ๊กไก่ สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จํานวน 20 คน

ตัวแปรที่ศึกษา 
ตัวแปรตน คือการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ
 ตัวแปรตาม คือ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

สมมติฐานของการวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ทำกิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสูงขึ้น

การดําเนินการทดลอง
1. ทําการทดสอบกอนการทดลอง (Pretest) กับกลุมตัวอยาง โดยใชแบบทดสอบวัดทักษะ พื้นฐานทางคณิตศาสตรที่ผูวิจัยสรางขึ้น
 2. ผูวิจัยดําเนินการทดลองดวยตนเอง โดยกลุมตัวอยางจะไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรค ดวยขนมอบ ซึ่งทำการทดลองในกิจกรรมสรางสรรคใชระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาหสัปดาหละ 3 วัน วันละ 1 ครั้งๆ ละ 20 นาที รวมทงสั้ นิ้ 24 ครั้ง 63 
3. หลังการเสร็จสิ้นการทดลอง ผูวิจัยทําการทดสอบหลังการทดลอง (Posttest) กับกลุม ตัวอยาง โดยใชแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรฉบับเดียวกับแบบทดสอบที่ใชกอน การทดลองแลวตรวจใหคะแนนตามเกณฑที่กําหนด 
4. นําคะแนนที่ไดจากการทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรมาทําการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูล
1. คะแนนที่ไดจากการทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรกอนและหลังการทดลอง นํามา หาคาสถิติพื้นนฐาน โดยนําขอมลไปหาค ู าคะแนนเฉลยี่ (Mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
 2. เปรียบเทียบความแตกตางของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรกอนและหลังการทดลอง กิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ โดยใชสถิติ t-test สําหรับ Dependent Samples

สรุปผลการวิจัย ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรทั้งโดยรวมและรายดานของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองสูง กวากอนการทดลองทํากิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบอยางมีนัยสาคํ ัญทางสถิติที่ระดับ .01

ข้อเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 
1. ควรมีการศึกษาผลของการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ ที่มีตอพัฒนาการ ดานอื่นๆ ของเด็กปฐมวัย เช่น ความสามารถดานความคิดแกปญหา ทกษะทางภาษาส่งเสริมพัฒนาการ ดานกลามเนื้อมัดเล็กและลีลามือ เปนตน
 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบผลของการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบในกลุมตัวอยาง อื่นๆเชน กลุมตัวอยางในโรงเรียน สังกัดการศึกษากรุงเทพมหานครกลุมตัวอยางในโรงเรียน สงกั ัด สํานักงานการศึกษาขึ้นพื้นฐาน

อ่านเพิ่มเติมได้ที่  http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Pigitra_K.pdf


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น